🍧🍧สรุป วิจัยวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย🍧🍧
การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้ันพืื้นฐานของเด็กปฐมวัย
โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัยและเทคนิคการใช้คำถาม
🍧🍧ผู้แต่ง🍧🍧
จุไรรัตน์ สมบูรณ์มาก
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อหาประสิทธิภาพและหาดัชนี้ประสิทธิผลของรูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยการจัดการเรียนรู้แบบนักวิจัยและเทคนิคการใช้คำถามและเปรียบเทียบทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัยที่จัดประสบการณ์เรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัยและเทคนิคการใช้คำถามผลการวิจัยพบว่า
1.ประสิทธิภาพของรูปแบบการจัดการแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัยและเทคนิคการใช้คำถามใีประสิทธิภาพโดยเฉลี่ย เท่ากับ 79.73/82.05
2.ดัชนีประสิทธิของรูปแบบการจัดประสบการณ์เรรียนรู้โดยใช้การจักการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัยและเทคนิคการใช้คำถามมีค่าเท่ากับ 0.63เพื้นฐานของเด็กปฐมวัยหลังได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างมีนัยสำคํญทางสถิติที่ .01
🍧🍧 การจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย 🍧🍧
การจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย การจัดการเรียนรู้ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญโดยการผสมผสานวิธีการสอนของครูและการเรียนรู้ของเด็กการใช้การประเมินแนวใหม่และการแนะแนวในชั้นเรียนให้ควบคู่กลมกลืนเป็นกระบวนการเดียวกันในชั้นเรียนโดยให้ผู้เรียนมีความสำคัญเป็นศูนย์กลางของเรียนรู้ด้วยวิธีการวิจัยซึ่งมีความหมายถึงการใช้ปัญญาทำให้เกิดปัญญาซึ่งผู้เรียนจะได้เรียนรู้ในเรื่องที่ตัวเองสนใจ ได้ลงมือ ศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้ ความจริงตามความสนใจ อยากรู้อยากเห็นและความถนัดของตนการเรียนแบบนี้เด็กจะได้สร้างองค์ความรูป พร้อมกับการแก้ไข้ปัญหาและค้นพบสิ่งใหม่ๆ
🍧🍧 ลักษณะสำคัญของการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย🍧🍧
1.กิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมความถนัดของนักเรียน
2.เป็นกิจกรรมเรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็นผู้ลงมือศึกษาค้นคว้าหาคำตอบ
3.สามารถจัดการเรียนรู้ได้ทุกสถานที่ อาทิ ในห้องทดลอง ห้องสมุด ภาคสนาม สวนสัตว์ สวนพืช เป็นต้น
4.กำหนดแหล่งเรียนรู้ความเป็นแหล่งเรียนรู้ในบริเวณโรงเรียนใกล้บริเวณโรงเรียนตลอดจนสถานที่สำคัญในจังหวัด
5.นักเรียนสามารถศึกษา ซักถาม จากบิดามารดา ผู้ปกครองและบุคคลในชุมชนที่เป็นผู้รู้ในสาขาวิชา
6.ใช้กิจกรรมการประเมินที่สะท้อนการเรียนรู้ของผู้เรียนควบคู่ไปกับการสอนอย่างต่อเนื่อง
7.ครูสามารถวิเคราะห์กิจกรรมระหว่างการศึกษาค้นคว้าของผู้เรียนซักคำถามและคำตอบกับผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง
8.สามารถนำเทคนิคเด็กวิจัย มาเป็นหัวข้อวิจัยให้ครูทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อปรับปรุงการเรียนแบบเด็กนักวิจัยมี 3 ขั้นตอน
1.ทบทวนความรู้และหัวขข้อเนื้อหาที่สนใจ
2.ค้นคว้าวิจัยหาความรู้
3.ขั้นการประเมินผล
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น